การพัฒนาเชิงกลยุทธ์ (Strategy Development) หรือ การพัฒนากลยุทธ์ (Develop the Strategy) มี หลายความหมาย ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. การสร้างแบบจำลองสถานการณ์ของกลยุทธ์ในอนาคต โดยอาศัยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม และการวิเคระห์ผลประกอบการขององค์กร ที่มา: สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หรือ Thai Institute of Directors
2. การพัฒนากลยุทธ์เป็นหนึ่งในหกขั้นตอนการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนากลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพประกอบด้วย 1) พัฒนาหรือทบทวนทิศทางองค์กร (ภารกิจ ค่านิยม และวิสัยทัศน์) ใช้เครื่องมือ Mission, Value, Vision; 2) วิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (ประเด็น ปัญหา และโอกาส ที่ท้าทายองค์กร) ใช้เครื่องมือ SWOT analysis, Strategic Change agenda; 3) กำหนดกลยุทธ์การแข่งขัน (Strategy Formulation)ใช้เครื่องมือ Strategy approches เช่น Resource-based view, Core Competencies, Value-based management, Profit from the Core, Blue-Ocean, Emergent strategy, Experience Cocreation, and Disruptive Innovation และ เครื่องมือปรับปรุงประสิทธิภาพองค์กร (Operational Approaches) เช่น TQM, Six sigma, ISO, Lean manufacturing, Learning Organization, และ/หรือ วิธีการลดความเสี่ยง (Methodologies) เช่น ERM, Internal control, COSO ที่มา: The Execution Premium, Kaplan and Norton, 2008
3. การวางแผนทิศทางกลยุทธ์ การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฎิบัติ การนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาวัฒนธรรมและสมรรถนะหรือความรู้ความสามารถขององค์กร ที่มา: The Center of Strategic Development, http://www.strategycentre.net
4. การวางแผนขององค์กรที่ต้องการบรรลุภารกิจ ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งองค์กร กระบวนการพัฒนากลยุทธ์เกี่ยวข้องกับแนวคิด 3 ทางคือ การสร้างความแตกต่าง การแข่งขันทางต้นทุนที่ต่ำกว่า และ การตอบสนองลูกค้า การพัฒนากลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพต้องผ่านขั้นตอนการวิเคราะห์ SWOT ที่มา: http://wiki.answers.com
1. การสร้างแบบจำลองสถานการณ์ของกลยุทธ์ในอนาคต โดยอาศัยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม และการวิเคระห์ผลประกอบการขององค์กร ที่มา: สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หรือ Thai Institute of Directors
2. การพัฒนากลยุทธ์เป็นหนึ่งในหกขั้นตอนการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนากลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพประกอบด้วย 1) พัฒนาหรือทบทวนทิศทางองค์กร (ภารกิจ ค่านิยม และวิสัยทัศน์) ใช้เครื่องมือ Mission, Value, Vision; 2) วิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (ประเด็น ปัญหา และโอกาส ที่ท้าทายองค์กร) ใช้เครื่องมือ SWOT analysis, Strategic Change agenda; 3) กำหนดกลยุทธ์การแข่งขัน (Strategy Formulation)ใช้เครื่องมือ Strategy approches เช่น Resource-based view, Core Competencies, Value-based management, Profit from the Core, Blue-Ocean, Emergent strategy, Experience Cocreation, and Disruptive Innovation และ เครื่องมือปรับปรุงประสิทธิภาพองค์กร (Operational Approaches) เช่น TQM, Six sigma, ISO, Lean manufacturing, Learning Organization, และ/หรือ วิธีการลดความเสี่ยง (Methodologies) เช่น ERM, Internal control, COSO ที่มา: The Execution Premium, Kaplan and Norton, 2008
3. การวางแผนทิศทางกลยุทธ์ การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฎิบัติ การนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาวัฒนธรรมและสมรรถนะหรือความรู้ความสามารถขององค์กร ที่มา: The Center of Strategic Development, http://www.strategycentre.net
4. การวางแผนขององค์กรที่ต้องการบรรลุภารกิจ ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งองค์กร กระบวนการพัฒนากลยุทธ์เกี่ยวข้องกับแนวคิด 3 ทางคือ การสร้างความแตกต่าง การแข่งขันทางต้นทุนที่ต่ำกว่า และ การตอบสนองลูกค้า การพัฒนากลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพต้องผ่านขั้นตอนการวิเคราะห์ SWOT ที่มา: http://wiki.answers.com
ความคิดเห็น