ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2008

Corporate Turnaround

การพลิกฟื้นองค์กร (Corporate Turnaround) วัตถุประสงค์ของบทความนี้ คือเพื่อให้เข้าใจความคิดหลัก Corporate Turnaround (เรียบเรียงมาจากหนังสือชื่อ Corporate Turnaround: How managers turn losers into winners เขียนโดย Donald B.Bibeault (1982)) และสามารถนำไปใช้งานได้จริง จึงกำหนด บทความเป็น 3 หัวข้อคือ 1) ความคิดหลัก 2) นำมาใช้เมื่อใด และ 3) การวิเคราะห์สุดท้ายและประยุกต์ใช้งาน โดยในหัวข้อสุดท้าย ผู้เขียนจะเสนอ การวิเคราะห์ว่า สามารถนำเอาแนวคิดของ Donald ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างไร 1. ความคิดหลัก (Core Idea) การพลิกฟื้นองค์กรหรือบริษัทหรือธุรกิจ (Corporate Turnaround) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงผลการดำเนินงานขององค์กร ให้เป็นบวกอย่างต่อเนื่องและมีนัยสำคัญ ผลการสำรวจ 81 บริษัท ที่ทำการพลิกฟื้นองค์กร พบว่าระยะเวลาขององค์กรขาลงหรือตกต่ำใช้เวลาประมาณ 3.7 ปี และการฟื้นตัวใช้เวลาเฉลี่ย 4.1 ปี รอบของการพลิกฟื้นองค์กรประมาณ 7.8 ปี และ แต่อย่งไรก็ตามบริษัทใหญ่จะใช้เวลาการพลิกฟื้นองค์กรนานกว่าบริษัทที่มีขนาดเล็ก Donald ให้เหตุผลว่าองค์กรที่ประสบความล้มเหลวหรืออยู่ในสภาพตกต่ำ อาจเกิดมาจากสาเหตุของปัจจัยภ

Integrating Strategy Planning and Operation Execution: A Six-Stage System

การบรูณาการการวางแผนกลยุทธ์กับการนำไปปฏิบัติ (Integrating strategy Planning and Operational Execution: A six-Stage System By Robert S, Kaplan and David P. Norton) Robert Kaplan and David Norton ได้เขียนบทความลง HBR ฉบับเดือนมกราคม 2551 เกี่ยวกับวิธีการนำยุทธ์ศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลงานเดิมที่ ได้รับการยกย่องและยอมรับอย่างกว้างขวางทั่วโลกในวงการแปลงยุทธ์ศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) The Balanced Scorecard 2) The Strategy-Focused Organization ความคิดหลัก (Core Idea) เพื่อแก้ปัญหาที่ท้าทายผู้บริหาร ในการนำยุทธ์ศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ Kaplan และ Norton ได้นำเสนอแนวคิดใหม่ว่า ระบบบริหารจัดการ 6 ขั้นตอน ระบบใหม่นี้ ได้รวมรูปแบบการบริหารจัดการองค์กร Balanced Scorecard, theme-based, strategy maps, หลักการ the five Strategy-focused Organization และยังได้รวม การพัฒนาและการวางแผนยุทธศาสตร์ และ เครื่องมือบริหารจัดการที่ใช้ในแต่ละขั้นตอน เครื่องมือเหล่านี้ไม่ใช่เฉพาะวางแผน และปฏิบัติ แต่ยังรวมถึงการติดตาม การนำไปใช้งาน (When to use it) สามารถใช้กับองค์กรที่ยังไม่ได้กำหนดทิศทางและยุทธศ